วันพุธที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต

สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตมีความแตกต่างกัน  มีปริมาณต่างกันบางบริเวณพบว่ามี
ีสัตว์และพืชอาศัยอยู่ร่วมกันเราเรียกสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันว่า  กลุ่มสิ่งมีชีวิต
km
 
   
 
            มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อม  และต้องพึ่งพาสิ่งแวดล้อมในการดำรงชีวิต 
เพราะปัจจัยสิ่งที่มนุษย์ใช้ในการดำรงชีวิตล้วนได้มาจากทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม เช่น


สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตมีความแตกต่างกัน  มีปริมาณต่างกันบางบริเวณพบว่ามี
ีสัตว์และพืชอาศัยอยู่ร่วมกันเราเรียกสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันว่า  กลุ่มสิ่งมีชีวิต
km
 
   
 
            มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อม  และต้องพึ่งพาสิ่งแวดล้อมในการดำรงชีวิต 
เพราะปัจจัยสิ่งที่มนุษย์ใช้ในการดำรงชีวิตล้วนได้มาจากทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม เช่น


สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตมีความแตกต่างกัน  มีปริมาณต่างกันบางบริเวณพบว่ามี
ีสัตว์และพืชอาศัยอยู่ร่วมกันเราเรียกสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันว่า  กลุ่มสิ่งมีชีวิต
km
 
   
 
            มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อม  และต้องพึ่งพาสิ่งแวดล้อมในการดำรงชีวิต 
เพราะปัจจัยสิ่งที่มนุษย์ใช้ในการดำรงชีวิตล้วนได้มาจากทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม เช่น


สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตมีความแตกต่างกัน  มีปริมาณต่างกันบางบริเวณพบว่ามี
ีสัตว์และพืชอาศัยอยู่ร่วมกันเราเรียกสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันว่า  กลุ่มสิ่งมีชีวิต
km
 
   
 
            มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อม  และต้องพึ่งพาสิ่งแวดล้อมในการดำรงชีวิต 
เพราะปัจจัยสิ่งที่มนุษย์ใช้ในการดำรงชีวิตล้วนได้มาจากทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม เช่น

              
        

       สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตมีความแตกต่างกัน  มีปริมาณต่างกันบางบริเวณพบว่ามี
สัตว์และพืชอาศัยอยู่ร่วมกันเราเรียกสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันว่า  กลุ่มสิ่งมีชีวิต

ที่มา   http://www.anuban-kk.ac.th/Teacher_work/mathuros/06knowledge.html

อิทธิพลของมนุษย์ที่มีต่อสิ่งแวดล้อม

           ในสมัยก่อนที่ประชากรของมนุษย์บนโลกยังมีจำนวนเพียงเล็กน้อยนั้น การดำเนินชีวิตของมนุษย์ไม่ได้สร้างผลกระทบร้ายแรงต่อสิ่งแวดล้อมแต่อย่างไร แต่ต่อมาเมื่อมนุษย์เพิ่มจำนวนมากขึ้นอย่างรวดเร็ว และมีการพัฒนาวิถีชีวิตด้วยเทคโนโลยีให้มีความเป็นอยู่สุขสบายดี การบุกรุกสภาพสมดุลของธรรมชาติจึงเกิดขึ้นอย่างรุนแรง
ปัจจุบันนี้มนุษย์มักจะทำให้ระบบนิเวศในโลกนี้เป็นระบบนิเวศที่ธรรมดา โดยเฉพาะการเกษตรในปัจจุบันได้พยายามลดระดับต่าง ๆ ในห่วงโซ่อาหารให้เหลือน้อยที่สุด โดยการกำจัดพืชและหญ้าหลายชนิดไปเพื่อพืชชนิดเดียว เช่น ข้าวสาลี หรือข้าวโพด ซึ่งทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้นแต่ในขณะเดียวกัน ก็ทำให้ความมั่นคงระบบนิเวศลดน้อยลง หากมีโรคระบาดเกิดขึ้น โอกาสที่ระบบนิเวศจะถูกทำลายก็จะมีมาก
นอกจากนั้น บริเวณการเกษตรทั่วโลกก็นับเป็นบริเวณที่ระบบนิเวศถูกทำลายมาก ทั้งนี้เพราะมีการใช้ยากำจัดศัตรูพืชกันอย่างแพร่หลาย สารพิษที่เกิดจากการเกษตรและอุตสาหกรรมต่าง ๆ เหล่านี้จะสามารถถ่ายทอดไปยังสิ่งมีชีวิตระดับสูง ๆ ได้ตามห่วงโซ่อาหาร จึงมักสะสมอยู่ในสิ่งมีชีวิตในปริมาณที่เข้มข้นกว่าที่มีในสิ่งแวดล้อมเสมอ ดังตัวอย่างของการใช้ DDT
เมื่อมีการใช้ยากำจัดศัตรูพืชในบริเวณที่หนึ่ง DDT ซึ่งเป็นส่วนผสมของยากำจัดศัตรูพืชนั้น จะตกค้างอยู่ในดินถูกชะล้างลงในแม่น้ำและสะสมอยู่ในแพลงค์ตอน เมื่อสัตว์น้ำชนิดอื่น เช่น ปลามากินแพลงค์ตอน DDT ก็จะเข้าไปสะสมในตัวปลาเป็นปริมาณมากกว่าที่อยู่ในแพลงค์ตอนและเมื่อนกซึ่งกินปลาและสัตว์น้ำอื่น ๆ เข้าไป ก็จะสะสมไว้ในปริมาณสูง เมื่อสัตว์อื่นมากินนกก็ยิ่งจะทำให้การสะสม DDT ในตัวมันสูงมากขึ้นไปอีก ถ้า DDT สูงขึ้นถึงขีดอันตรายก็จะทำให้สัตว์ตายได้หรือไม่ก็ผิดปกติ DDT ส่วนใหญ่จะสะสมในเนื้อเยื่อไขมันและขัดขวางการเกาะตัวของ แคลเซี่ยมที่เปลือกไข่ทำให้ไข่บางแตกง่ายและไม่สามารถฟักออกเป็นตัวได้มีรายงานว่าในประเทศสวีเดน และในประเทศญี่ปุ่นมีนกบางชนิดสูญพันธุ์ไปแล้ว เนื่องจากผลกระทบสะสมตัวของ DDT
สรุป : จะต้องพิจารณาอย่างรอบคอบถึงผลกระทบต่อระบบนิเวศ มิฉะนั้นก็อาจจะเกิดผลเสียหายร้ายแรง ทั้งต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคมและความเป็นอยู่ของมนุษย์เอง ตัวอย่างเช่น การสร้างเขื่อนทำให้เกิดบริเวณน้ำขังจำนวนมหาศาลอาจทำให้เกิดการระบาดของโรคเนื่องจากพาหะของโรคนั้นสามารถเติบโตได้ดีชื่อหนังสือ: การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม


ขอขอบคุณ http://blog.spu.ac.th/jeapz/2008/07/23/entry-2

สิ่งแวดล้อม หมายถึงอะไร ?




               สิ่งแวดล้อม (Environment) หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างทีอยู่รอบตัวเราทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต คนก็เป็นสิ่งแวดล้อมเช่นเดียวกัน และจัดเป็นองค์ประกอบหนึ่งของสิ่งแวดล้อม


ที่มา  http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/109/unt4/un4.html

ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่มีชีวิต



    สิ่งแวดล้อมรอบๆ  ตัวมนุษย์  ไม่ว่าจะเป็นสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ  หรือสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น  ล้วนมีอิทธิพลอย่างลึกซึ้งต่อความเป็นอยู่  การอยู่รอด  และมีความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตและมนุษย์  รวมทั้งวิธีจัดการกิจกรรมต่างๆ  ของมนุษย์เป็นอย่างมาก  การเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตร์ของโลก  ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา  สภาพลมฟ้าอากาศ  ลักษณะภูมิประเทศ  ย่อมส่งผลกระทบต่อวิถีการดำเนินชีวิตของมนุษย์  เพราะสิ่งแวดล้อมจะทำให้มีการเปลี่ยนแปลงในองค์ประกอบ  การกระจายผลผลิตของสังคมพืชและสัตว์  ซึ่งส่งผลสะท้อนไปถึงชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์มากที่สุด  โดยจะเห็นได้ค่อนข้างชัดเจนจากวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตในแต่ละยุค  แต่ละสมัย  ขึ้นอยู่กับลักษณะสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์กันเป็นวงจรไม่สามารถที่จะบอกได้ชัดเจนว่าสิ่งใดมีอิทธิพลต่อสิ่งใดมากกว่ากัน  สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมและความเป็นอยู่ของมนุษย์และกิจกรรมของมนุษย์ก็เป็นตัวการสำคัญในการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม  เมื่อสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลง  ย่อมส่งผลกระทบต่อของมนุษย์ให้เปลี่ยนแปลงอีกตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันและจะดำเนินต่อไปในอนาคต (ภาณี  คูสุวรรณ์  และศจีพร  สมบูรณ์ทรัพย์, 2542 : 4)

ความเสียหายที่เกิดขึ้นนี้ไม่ได้เกิดขึ้นเพียงชั่วข้ามคืนแต่ถูกสะสมมาเป็นสิบสิบปีหรืออาจจะมากกว่านั้น  แต่มนุษย์ก็หลีกเลี่ยงการพัฒนาไม่ได้  อาจจะเพื่อระดับความเป็นอยู่  หรือความสะดวกสบาย  ก็แล้วแต่กรณีต่าง ๆ  นา ๆ  แต่ก็ไม่ใช่ว่ามนุษย์ได้ละเลยผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมเหล่านี้  ยังมีหลายกลุ่มหลายหน่วยงานที่มองเห็นและกังวลกับสิ่งที่เกิดขึ้นและได้ปฏิบัติทุกวิถีทางเพื่อแก้ไขสิ่งที่เกิดขึ้น  แต่ในที่สุดแล้วกลุ่มคนส่วนใหญ่ละเลยและมองข้ามปัญหาเหล่านี้เพราะคิดว่าเป็นเรื่องใหญ่และคิดว่าตัวเองเป็นเพียงคนคนนึงคงแก้ไขอะไรไม่ได้  แต่หารู้ไม่ว่ากลุ่มคนส่วนน้อยจะรวมเป็นกลุ่มคนส่วนใหญ่ถ้าทุกคนทำ ปัญหาสิ่งแวดล้อมก็จะบรรเทาลง  หรือจะรอให้ธรรมชาติปับตัวของมันเอง  เมื่อถึงวันนั้น  ชีวิตคงเริ่มต้นจาก 1 ใหม่ (ยุคสร้างโลก)


ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับระบบนิเวศ

ในสมัยก่อนที่ประชากรของมนุษย์บนโลกยังมีจำนวนเพียงเล็กน้อยนั้น การดำเนินชีวิตของมนุษย์ไม่ได้สร้างผลกระทบร้ายแรงต่อสิ่งแวดล้อมแต่อย่างไร แต่ต่อมาเมื่อมนุษย์เพิ่มจำนวนมากขึ้นอย่างรวดเร็ว และมีการพัฒนาวิถีชีวิตด้วยเทคโนโลยีให้มีความเป็นอยู่สุขสบายดี การบุกรุกสภาพสมดุลของธรรมชาติจึงเกิดขึ้นอย่างรุนแรง
ปัจจุบันนี้มนุษย์มักจะทำให้ระบบนิเวศในโลกนี้เป็นระบบนิเวศที่ธรรมดา โดยเฉพาะการเกษตรในปัจจุบันได้พยายามลดระดับต่าง ๆ ในห่วงโซ่อาหารให้เหลือน้อยที่สุด โดยการกำจัดพืชและหญ้าหลายชนิดไปเพื่อพืชชนิดเดียว เช่น ข้าวสาลี หรือข้าวโพด ซึ่งทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้นแต่ในขณะเดียวกัน ก็ทำให้ความมั่นคงระบบนิเวศลดน้อยลง หากมีโรคระบาดเกิดขึ้น โอกาสที่ระบบนิเวศจะถูกทำลายก็จะมีมาก
นอกจากนั้น บริเวณการเกษตรทั่วโลกก็นับเป็นบริเวณที่ระบบนิเวศถูกทำลายมาก ทั้งนี้เพราะมีการใช้ยากำจัดศัตรูพืชกันอย่างแพร่หลาย สารพิษที่เกิดจากการเกษตรและอุตสาหกรรมต่าง ๆ เหล่านี้จะสามารถถ่ายทอดไปยังสิ่งมีชีวิตระดับสูง ๆ ได้ตามห่วงโซ่อาหาร จึงมักสะสมอยู่ในสิ่งมีชีวิตในปริมาณที่เข้มข้นกว่าที่มีในสิ่งแวดล้อมเสมอ ดังตัวอย่างของการใช้ DDT
เมื่อมีการใช้ยากำจัดศัตรูพืชในบริเวณที่หนึ่ง DDT ซึ่งเป็นส่วนผสมของยากำจัดศัตรูพืชนั้น จะตกค้างอยู่ในดินถูกชะล้างลงในแม่น้ำและสะสมอยู่ในแพลงค์ตอน เมื่อสัตว์น้ำชนิดอื่น เช่น ปลามากินแพลงค์ตอน DDT ก็จะเข้าไปสะสมในตัวปลาเป็นปริมาณมากกว่าที่อยู่ในแพลงค์ตอนและเมื่อนกซึ่งกินปลาและสัตว์น้ำอื่น ๆ เข้าไป ก็จะสะสมไว้ในปริมาณสูง เมื่อสัตว์อื่นมากินนกก็ยิ่งจะทำให้การสะสม DDT ในตัวมันสูงมากขึ้นไปอีก ถ้า DDT สูงขึ้นถึงขีดอันตรายก็จะทำให้สัตว์ตายได้หรือไม่ก็ผิดปกติ DDT ส่วนใหญ่จะสะสมในเนื้อเยื่อไขมันและขัดขวางการเกาะตัวของ แคลเซี่ยมที่เปลือกไข่ทำให้ไข่บางแตกง่ายและไม่สามารถฟักออกเป็นตัวได้มีรายงานว่าในประเทศสวีเดน และในประเทศญี่ปุ่นมีนกบางชนิดสูญพันธุ์ไปแล้ว เนื่องจากผลกระทบสะสมตัวของ DDT
การพัฒนาเทคโนโลยีต่าง ๆ นั้นจะต้องพิจารณาอย่างรอบคอบถึงผลกระทบต่อระบบนิเวศ มิฉะนั้นก็อาจจะเกิดผลเสียหายร้ายแรง ทั้งต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคมและความเป็นอยู่ของมนุษย์เอง ตัวอย่างเช่น การสร้างเขื่อนทำให้เกิดบริเวณน้ำขังจำนวนมหาศาลอาจทำให้เกิดการระบาดของโรคเนื่องจากพาหะของโรคนั้นสามารถเติบโตได้ดีในบริเวณน้ำนิ่ง

ปัจจุบันปะการังได้ถูกทำลาย เนื่องจากกิจกรรมการท่องเที่ยว วิธีการที่จะดำเนินการฟื้นฟูวิธีการหนึ่ง โดยการสร้างปะการังเทียม โดยนำยางรถยนต์ไปไว้ใต้ทะเลให้ปะการังอาศัยเกาะอยู่ เพื่อให้มีส่วนปรับระบบนิเวศในท้องทะเล


ที่มา   http://www.blogger.com/post-create.g?blogID=4958454970347803684

ปัญหาสิ่งแลดล้อม

   
                                     
   

        ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกิดขึ้นจากสาเหตุใหญ่ 3 ประการ คือ        1. การเพิ่มจำนวนของประชากร
        การเพิ่มความต้องการในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อการดำรงชีวิตขั้นพื้นฐาน อันได้แก่ ความต้องการพื้นที่ทำกินทางการเกษตรที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จนมีการบุกรุกทำลายป่าอันควรสงวนไว้เพื่อรักษาดุลยภาพ
ของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ความต้องการในการใช้ทรัพยากรอื่นๆ เป็นต้นว่า น้ำ อากาศ แร่ธาตุ แหล่งพลังงาน ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นเพียงเพื่อสนองความต้องการที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบัน ยังขาดการวางแผนการใช้อย่างมีประสิทธิภาพ และคำนึงถึงความต้องการในอนาคต จนเกิดความเสื่อมโทรมของสภาพสิ่งแวดล้อมขึ้นโดยทั่วไปและอาจทำให้เกิดผลเสียหายร้ายแรงในอนาคต หากยังมีการทำลายหรือการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติกันอย่างไม่ระมัดระวังต่อไปอีก
        2. การรวมตัวของประชากรหรือการตั้งถิ่นฐานมนุษย์
          เป็นสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น และจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาพสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติเช่นเดียวกับการขยายตัวอย่างรวดเร็วของเมือง ซึ่งโดยปกติแล้วจะขาดการวางแผนและผังเมืองไว้ล่วงหน้าทำให้เกิดปัญหาของเมืองขึ้น เป็นต้นว่าการใช้ที่ดินที่ไม่มีระเบียบแบบแผน ปัญหาการจราจร การขาดแคลนทางด้านสาธารณูปโภคและการบริการโดยทั่วไป รวมทั้งการพักผ่อนหย่อนใจอันแสดงถึงสภาพความเสื่อมโทรมทั้งทางด้านกายภาพสังคม และคุณภาพของชีวิตของคนในเมืองทุกขณะการขยายตัวของเมืองนั้นโดยปกติจะมีการขยายตัวทางอุตสาหกรรมเกิดขึ้นด้วย เนื่องจากอุตสาหกรรมจะได้ประโยชน์จากการอยู่ใกล้ชิดกับเมืองที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งหมายถึง การมีตลาดการคมนาคมและบริการพื้นฐานต่างๆ ที่ดีกว่าเมืองหรือชุมชนขนาดเล็ก การขยายตัวทางอุตสาหกรรมมักจะขาดการวางแผนหรือควบคุมที่เพียงพอ จึงทำให้เกิดปัญหาน้ำเสีย อากาศเป็นพิษจากของเสียที่โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ปล่อยออกมา ซึ่งจะก่อให้เกิดปัญหาทั้งทางด้านกายภาพ และทางด้านสุขภาพ อนามัย และคุณภาพชีวิตของประชากรเช่นเดียวกัน
        3. การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการผลิตในทางด้านการเกษตร
        การใช้ปุ๋ยและยาฆ่าแมลงได้ก่อให้เกิดความเสื่อมโทรมของคุณภาพของดิน ปัญหาดินเป็นพิษ ซึ่งอาจจะแผ่กระจายตัวลงสู่แม่น้ำ ลำธาร จนเป็นสาเหตุของน้ำเสีย หรือทางด้านอุตสาหกรรม วิธีการในการผลิตที่ใช้สารตะกั่ว ปรอท สารหนู ฯลฯ สารเหล่านี้จะเป็นพิษร้ายแรงต่อสุขภาพอนามัยของประชากร และยากแก่การแก้ไขหรือทำลายส่วนที่ตกค้างให้หมดสิ้นไป การใช้พลังงานก็อาจก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมขึ้นได้หลายประการ
        จะเห็นได้ว่าปัญหาของสิ่งแวดล้อมนั้นเกิดขึ้นจากคน และการกระทำของคนทั้งสิ้นดังนั้นในการแก้ไขและวางแผนเพื่อปรับปรุงคุณภาพของสิ่งแวดล้อม
                                   
                                            ที่มา : http://environment.exteen.com/20061210/entry-3

วันอังคารที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

ความรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศ



ระบบนิเวศ (Ecosystem)  หมายถึง  ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่แหล่งอาศัยเดียวกัน  และมีความสัมพันธ์กันกับสิ่งแวดล้อม
                กลุ่มสิ่งมีชีวิต (Ecommunity) หมายถึง  สิ่งมีชีวิตตั้งแต่  2  ชนิดขึ้นไปอาศัยอยู่ในแหล่งที่อยู่อาศัยเดียวกัน  และมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
                ระบบนิเวศขนาดใหญ่ที่สุดคือ  โลกของเรา  ประกอบด้วย  ระบบนิเวศขนาดเล็กหลาย ๆ ระบบจึงเรียกว่า  โลกของสิ่งมีชีวิต (Biosphere
  
ระบบนิเวศสามารถจำแนกออกเป็นกลุ่มๆได้ดังนี้
1.       ระบบนิเวศทางธรรมชาติและใกล้ธรรมชาติคือ ระบบที่ต้องพึ่งพลังงานจากดวงอาทิตย์เพื่อที่จะทำงานได้
2.       ระบบนิเวศเมืองและอุตสาหกรรม  คือ ระบบที่ต้องพึงแหล่งพลังงานเพิ่มเติม เช่น น้ำมันเชื้อเพลิง
3.       ระบบนิเวศเกษตร คือ ระบบที่มนุษย์ได้ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศทางธรรมชาติขึ้นมาใหม่